ชื่อสารเคมี |
LNG |
สูตรทางเคมี |
|
CAS |
|
UN |
|
NFPA |
0
2
0
0
|
ความอัตราย |
ก๊าซไวไฟ |
ความเป็นพิษ |
-ไอระเหยอาจเกิดภาวะขาดออกซิเจนและวลบโดยไม่รู้ตัว
- สารบางชนิดเป็นพิษและอาจทำให้เสียชีวิตหากสูดดม
- การสัมผัสอาจเกิดแผลไม้ บาดเจ็บสาหัส |
การปฐมพยาบาล |
- นำผู้บาดเจ็บไปยังที่อากาศบริสุทธิ์
- ให้ออกซิเจนถ้าผู้ป่วยหายใจลำบาก
- ถอดแยกเสื้อผ้ารองเท้าที่ปนเปื้อน
- กรณีสัมผัสก๊าซเหลว ใช้น้ำอุ่นล้างเพื่อให้กล้ามเนื้อคลายตัว
- กรณีเกิดแผลไหม้ ให้แช่น้ำเย็นนานเท่าที่จะทำได้
|
การดับเพลิง |
เพลิงไหม้ขนาดเล็ก - ผงเคมีแห้ง และ CO2
เพลิงไหม้ขนาดใหญ่ - ฉีดน้ำเป็นฝอยหรือหมอก |
การตอบโต้เมื่อเกิดเหตุ |
- กำกัดแหล่งที่อาจทำให้รั่วไหลทั้งหมด (ห้ามทำให้เกิดประกายไฟหรือเปลวไฟ)
- อุปกรณืที่ใช้ในการขนย้สยต้องต่อสายดิน
- ฉีดน้ำเป็นฝอยดักจับไอระเหยเพื่อลดความเข้มข้น แต่อย่าฉีดไปสัมผัสกับสารที่หกโดยตรง
- ป้องกันมิให้สารไหลลงน้ำ ท่อระบายน้ำ ชั้นใต้ดิน หรืออริ |
ระยะปลอดภัยเมื่อเกิดการลุกไหม้ (เมตร) |
1600 |
ระยะปลอดภัยเมื่อเกิดการรั่วไหลในอากาศ (เมตร) |
800 |