ชื่อสารเคมี |
Caustic Soda |
สูตรทางเคมี |
|
CAS |
1310-73-2 |
UN |
|
NFPA |
0
0
0
0
|
ความอัตราย |
- ไม่ติดไฟ ตัวสารเองจะไม่เผาไหม้ แต่อาจย่อยสลายเนื่องจากความร้อน และสร้างไอพิษและ/หรือกัดกร่อน
- สารบางอย่างเป็นสารออกซิไดเซอร์ และอาจติดไฟกับสารที่เผาไหม้ได้ (ไม้ กระดาษ น้ำมัน ผ้า ฯลฯ)
- การสัมผัสกับโลหะ อาจผลิตก๊าซไฮโดรเจนซึ่งสามารถติดไฟได้
- ภาชนะบ |
ความเป็นพิษ |
- เป็นพิษ การหายใจ การกิน หรือการรับสัมผัสทางผิวหนัง อาจบาดเจ็บอย่างรุนแรงหรือตายได้
- การสัมผัสกับสารในสถานะของเหลว อาจไหม้ผิวหนังและตาอย่างรุนแรง
- หลีกเลี่ยงการรับสัมผัสทางผิวหนัง
- อาการของผู้ป่วยต่อสารเคมี อาจแสดงออกภายหลัง
- การลุกติดไฟของสารอาจ |
การปฐมพยาบาล |
- นำผู้ประสบอันตรายไปยังที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์
-แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือโทรเรียกรถพยาบาล
- ใช้เครื่องช่วยหายใจ หากผู้ป่วยหยุดหายใจ
- อย่าใช้วิธีผายปอดด้วยวิธีเป่าปาก หากผู้ป่วยกินหรือหายใจเอาสารเคมีเข้าไป ใช้เครื่องช่วยหายใจแบบหน้ากากชนิดท่อเป่าปา |
การดับเพลิง |
เพลิงไหม้เล็กน้อย
- ผงเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์ ฉีดน้ำเป็นลำฝอย
เพลิงไหม้รุนแรง
- ผงเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์ alcohol - resistant foam หรือฉีดน้ำเป็นลำฝอย
- เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณเพลิงไหม้ หากไม่เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บของผู้ปฏิบัติงาน
- สร้างทำนบกั้นน้ำที่ใช้ดับเพลิง เพื่อนำไปกำจัดในภายหลัง ห้ามทำให้สารกระจายตัว
เพลิงไหม้ถังเก็บหรือรถ/รถไฟขนส่งสารเคมี
- ให้ผจญเพลิงในระยะห่างที่สุด หรือใช้หัวฉีดน้ำชนิดที่ไม่ต้องใช้คนถือ หรือใช้แท่นฉีดน้ำแทน
- อย่าให้น้ำไหลเข้าภาชนะบรรจุ
- หล่อเย็นภาชนะบรรจุด้วยน้ำจำนวนมาก หลังจากสามารถดับไฟได้แล้ว
- ให้ถอนกำลังออกทันที หากมีเสียงออกจากช่องระบายอากาศของตัวถัง หรือถังเปลี่ยนสี
- ออกห่างจากภาชนะบรรจุที่ห้อมล้อมด้วยไฟ |
การตอบโต้เมื่อเกิดเหตุ |
- กำจัดแหล่งกำเนิดไฟทุกประเภท (ห้ามสูบบุหรี่ ประกายไฟ เปลวไฟ)
- ห้ามสัมผัสกับภาชนะที่เสียหาย หรือสารที่รั่วไหล หากไม่สวมชุดป้องกันที่เหมาะสม
- ระงับการรั่วไหล หากทำได้และไม่เสี่ยงอันตราย
- ป้องกันไม่ให้สารเคมีหกรั่วไหลลงน้ำ ท่อระบายน้ำ ชั้นใต้ดิน หรือบ |
ระยะปลอดภัยเมื่อเกิดการลุกไหม้ (เมตร) |
800 |
ระยะปลอดภัยเมื่อเกิดการรั่วไหลในอากาศ (เมตร) |
0 |