ชื่อสารเคมี |
Ethylene Dichloride |
สูตรทางเคมี |
|
CAS |
107-06-2 |
UN |
1184 |
NFPA |
3
2
0
0
|
ความอัตราย |
- ไวไฟสูง อาจลุกติดไฟได้ด้วยความร้อน ประกายไฟหรือเปลวไฟ
- ไอระเหยเมื่อผสมกับอากาศ อาจระเบิดได้
- ไอระเหยอาจเคลื่อนไปยังแหล่งที่มีประกายไฟ ติดไฟและย้อนกลับไปยังแหล่งต้นกําเนิด |
ความเป็นพิษ |
- การหายใจหรือสัมผัสสาร อาจทําให้เกิดการระคายเคืองหรือไหม้ผิวหนังหรือตา
- เมื่อก๊าซนี้ไหม้ไฟจะก่อให้เกิดก๊าซระคายเคือง กัดกร่อนและหรือเป็นพิษ
- ไอระเหยอาจทําให้มึนงง หรือหายใจลําบาก
- น้ําจากการดับเพลิงอาจก่อให้เกิดมลพิษ |
การปฐมพยาบาล |
- นําผู้ประสบอันตรายไปยังที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์
-แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือโทรเรียกรถพยาบาล
- ใช้เครื่องช่วยหายใจ หากผู้ป่วยหยุดหายใจ
- อย่าใช้วิธีผายปอดด้วยวิธีเป่าปาก หากผู?ป่วยกินหรือหายใจเอาสารเคมีเข้าไป ใช้เครื่องช่วยหายใจแบบหน้ากากชนิดท่อเป |
การดับเพลิง |
เพลิงไหม้เล็กน้อย
- ใช้ผงเคมีแห้งหรือคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) น้ําฉีดเป็นฝอย หรือ alcohol-resistant foam
เพลิงไหม้รุนแรง
- น้ําฉีดเป็นฝอย หมอก หรือ alcohol-resistant foam
- เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณเพลิงไหม้ หากไม่เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บของผู้ปฏิบัติงาน |
การตอบโต้เมื่อเกิดเหตุ |
- สวมชุดป้องกันชนิดคลุมทั้งตัว หากต้องเข้าปฏิบัติหน้าที่ในบริเวณที่สารเคมีหกรั่วไหล
- กําจัดแหล่งกําเนิดไฟทุกประเภท (ห้ามสูบบุหรี่ ประกายไฟ เปลวไฟ)
- อุปกรณ์ที่ใช้ทุกชนิดต้องต่อสายดิน
- ห้ามสัมผัสหรือเดินผ่านสารเคมีที่หก |
ระยะปลอดภัยเมื่อเกิดการลุกไหม้ (เมตร) |
800 |
ระยะปลอดภัยเมื่อเกิดการรั่วไหลในอากาศ (เมตร) |
200 |