ชื่อสารเคมี |
naphtha |
สูตรทางเคมี |
|
CAS |
8030-30-6 |
UN |
1268 |
NFPA |
0
0
0
0
|
ความอัตราย |
-ไวไฟสูงมาก:จุดติดไฟได้ง่ายด้วยความร้อน ประกายไฟ หรือเปลวไฟ
-เมื่อผสมกับอากาศอาจเกิดส่วนผสมที่ระเบิดได้
-ไอระเหยของสารอาจลอยไปหาแหล่งความร้อน/ประกายไฟติดไฟหรือเปลวไฟย้อนกลับไปต้นกำเนิดอย่างรวดเร็ว
-ก๊าซหลายชนิดจะหนักกว่าอากาศจะแพร่กระจายไปตามพื้น สะสมต |
ความเป็นพิษ |
-การสูดดมหรือสัมผัสกับสารอาจทำให้ผิวหนังและดวงตาระคายเคืองหรือเป็นแผลไหม้
-หากสารเกิดรุกราม อาจเกิดก๊าซที่มีฤทธิ์ระคายเคือง กดกร่อน และหรือเป็นพิษ
-ไอระเหยสารอาจทำให้มึนงง หรือหายใจลำบาก
-น้ำเสียจากการดับเพลิงอาจก่อมลพิษ |
การปฐมพยาบาล |
-นำผู้บาดเจ็บไปยังพื้นที่อากาศบริสุทธิ์
-โทรแจ้ง191หรือหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ฉุกเฉิน(1669)
-ใช้เครื่องช่วยหายใจหากผู้บาดเจ็บหยุดหายใจ
-ให้ออกซิเจนถ้าผู้บาดเจ็บหายใจลำบาก
-ถอดและแยกเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อน
-ถ้าสัมผัสกับสาร ให้ล้างผิวหนังและดวงตาโดย |
การดับเพลิง |
เพลิงไหม้ขนาดเล็ก : ผงเคมีแห้ง CO2 น้ำฉีดเป็นฝอย หรือโฟมดับเพลิง
-เพลิงไหม้ขนาดใหญ่ : ฉีดน้ำฝอย หรือโฟมดับเพลิง
-ห้ามฉีดน้ำเป็นลำตรง : เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณเพลิงไหม้ หากทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย
เพลิงไหม้/เกิดอยู่ใกล้ ภาชนะบรรจุ
-ฉีดน้ำดับเพลิงจากระยะไกลที่สุด หรือใช้หัวฉีดน้ำชนิดที่ไม่ต้องใช้คนควบคุมหรือใช้แท่นฉีดน้ำแทน
-ฉีดน้ำบริเวณมากหล่อเย็นภาชนะบรรจุจนกว่าเพลิงจะสงบ
-ถอนกำลังเจ้าหน้าที่ทันที หากอุปกรณ์ระบายความดันนิรภัยของภาชนะบรรจุเกิดเสียงดังหรือภาชนะบรรจุเปลี่ยนสี
-อยู่ห่างจากภาชนะที่ไฟลุกลามตลอดเวลา
-สำหรับเพลิงไหมรุนแรงและใหญ่มาก ให้ใช้หัวฉีดน้ำชนิดที่ไม่ต้องใช้มือจับหรือใช้แท่นฉีดน้ำแทน |
การตอบโต้เมื่อเกิดเหตุ |
-กำจัดแหล่งที่อาจทำให้เกิดการจุดไฟทั้งหมด (ห้ามสูบบุหรี่ จุดพลุ ทำให้เกิดประกายไฟหรือเปลวไฟบริเวณจุดเกิดเหตุ)
-อุปกรณ์ที่ใช้ในการถ่ายเทหรือคนย้ายสารต้องต่อสายดิน
-ห้ามสัมผัสหรือเดินย่ำผ่่านบริเวณสารหกรั่วไหล
-ระงับการรั่วไหลของทำได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย
|
ระยะปลอดภัยเมื่อเกิดการลุกไหม้ (เมตร) |
0 |
ระยะปลอดภัยเมื่อเกิดการรั่วไหลในอากาศ (เมตร) |
0 |